วันอังคารที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2557

เกม ทายคำศัพท์ภาษาอังกฤษเขียนโดยใช้ Excel

เกม ทายคำศัพท์ภาษาอังกฤษเขียนโดยใช้ Excel วันนี้เราจะมาเรียนเรื่องการสร้าง เกม ง่ายๆ ที่ทำจาก Excel กัน โดย เกม นี้ มีลักษณะเหมือน เกมส์... thumbnail 1 summary

เกม ทายคำศัพท์ภาษาอังกฤษเขียนโดยใช้ Excel

วันนี้เราจะมาเรียนเรื่องการสร้าง เกม ง่ายๆ ที่ทำจาก Excel กัน โดย เกม นี้ มีลักษณะเหมือน เกมส์เศรษฐีทั่วๆไปนั่นเอง นั่นคือจะเป็น เกม ลักษณะ คำถามและก็มีคำตอบ หรือ มี Choice ให้ผู้เล่นเลือก ถ้าผู้ใช้เลือกถูกก็จะได้คะแนน 1 คะแนน

ยกตัวอย่างเช่น มีคำถามถามผู้ใช้ว่า 5+5 ได้เท่ากับเท่าไหร่ และเราก็จะมี choice ให้ประมาณ 4 choice เช่น 12 10 15 20 ถ้าผู้ใช้คลิกที่ 10 ก็จะได้ 1 คะแนน แต่ถ้าผู้ใช้คลิกที่ ตัวเลือกอื่นๆ ก็จะได้ 0 คะแนน ...โดยเราจะกำหนดกฎเกณฑ์ไว้ว่า หากผู้ใช้คลิกที่คำตอบตัวไหนแล้วก็จะไม่สามารถเปลี่ยนคำตอบได้ คลิกตัวเลือกไหนก็แล้วแต่จะถือว่าตอบเลย (หากว่าเราเอาไปพัฒนาต่อ เราก็อาจจะมีการสร้างปุ่มกดยืนยันคำตอบก่อนก็ได้ เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้คิดคำตอบอย่างถี่ถ้วน...ให้ไปลองคิดต่อยอดดูครับ)....และผู้ใช้จะต้องไปเล่นข้อต่อไปเท่านั้น

เพื่อให้เห็นภาพชัดเจน เรามาเริ่มทำโปรแกรมกันดีกว่า ว่าเราต้องการให้เป็นแบบไหน


1. เปิด Excel ขึ้นมา

2. ที่ A1 พิมพ์คำว่า โจทย์

3. ที่เซลล์ B1 พิมพ์คำว่า ตัวเลือก

4. เลือกเซลล์ B1:E1 แล้วทำการ Merge Cell แล้วจัดกึ่งกลางตัวหนังสือด้วย

5. ที่เซลล์ F1 พิมพ์คำว่าคะแนน

6. ที่เซลล์ A2 พิมพ์ว่า 10+10=?

7. ที่เซลล์ A3 พิมพ์ว่า 20+50=?

8. ที่เซลล์ A4 พิมพ์ว่า 11+4=?

9. ที่เซลล์ A5 พิมพ์ว่า 8+3=?

10. ที่เซลล์ B2 พิมพ์ว่า 20, ที่เซลล์ C2 พิมพ์ว่า 30, ที่เซลล์ D2 พิมพ์ว่า 40, ที่เซลล์ E2 พิมพ์ว่า 10

11. ที่เซลล์ B3 พิมพ์ว่า 90, ที่เซลล์ C3 พิมพ์ว่า 80, ที่เซลล์ D3 พิมพ์ว่า 70, ที่เซลล์ E3 พิมพ์ว่า 100

12. ที่เซลล์ B4 พิมพ์ว่า 12, ที่เซลล์ C4 พิมพ์ว่า 15, ที่เซลล์ D4 พิมพ์ว่า 114, ที่เซลล์ E4 พิมพ์ว่า 16

13. ที่เซลล์ B5 พิมพ์ว่า 10, ที่เซลล์ C5 พิมพ์ว่า 12, ที่เซลล์ D5 พิมพ์ว่า 83, ที่เซลล์ E5 พิมพ์ว่า 11

14. ที่เซลล์ E6 พิมพ์คำว่า รวม

15. ที่เซลล์ F6 พิมพ์สูตรว่า =SUM(F1:F5)

16. กด Alt+F11 เพื่อเข้าไปพิมพ์สูตร แล้วใส่สูตรดังนี้


Private Sub Worksheet_SelectionChange(ByVal Target As Range)

'question1

If Range("F2").Value = "" Then

If Target.Address = Range("b2").Address Then

Range("F2").FormulaR1C1 = 1

Rows("3:3").EntireRow.Select

End If



End If



If Range("F2").Value = "" Then

If Target.Address = Range("C2").Address Then

Range("F2").FormulaR1C1 = 0

Rows("3:3").EntireRow.Select

End If



End If



If Range("F2").Value = "" Then

If Target.Address = Range("D2").Address Then

Range("F2").FormulaR1C1 = 0

Rows("3:3").EntireRow.Select

End If



End If



If Range("F2").Value = "" Then

If Target.Address = Range("E2").Address Then

Range("F2").FormulaR1C1 = 0

Rows("3:3").EntireRow.Select

End If



End If

'----------------------------------------------

'question2



If Range("F3").Value = "" Then

If Target.Address = Range("b3").Address Then

Range("F3").FormulaR1C1 = 1

Rows("4:4").EntireRow.Select

End If

Else



End If



If Range("F3").Value = "" Then

If Target.Address = Range("C3").Address Then

Range("F3").FormulaR1C1 = 0

Rows("4:4").EntireRow.Select

End If

Else



End If



If Range("F3").Value = "" Then

If Target.Address = Range("D3").Address Then

Range("F3").FormulaR1C1 = 1

Rows("4:4").EntireRow.Select

End If

Else



End If



If Range("F3").Value = "" Then

If Target.Address = Range("E3").Address Then

Range("F3").FormulaR1C1 = 0

Rows("4:4").EntireRow.Select

End If

Else



End If

'----------------------------------------------

'Question 3



If Range("F4").Value = "" Then

If Target.Address = Range("b4").Address Then

Range("F4").FormulaR1C1 = 0

Rows("5:5").EntireRow.Select

End If

Else



End If



If Range("F4").Value = "" Then

If Target.Address = Range("C4").Address Then

Range("F4").FormulaR1C1 = 1

Rows("5:5").EntireRow.Select

End If

Else



End If



If Range("F4").Value = "" Then

If Target.Address = Range("D4").Address Then

Range("F4").FormulaR1C1 = 0

Rows("5:5").EntireRow.Select

End If

Else



End If



If Range("F4").Value = "" Then

If Target.Address = Range("E4").Address Then

Range("F4").FormulaR1C1 = 0

Rows("5:5").EntireRow.Select

End If

Else



End If

'----------------------------------------------

' Question 4



If Range("F5").Value = "" Then

If Target.Address = Range("b5").Address Then

Range("F5").FormulaR1C1 = 0



End If

Else



End If



If Range("F5").Value = "" Then

If Target.Address = Range("C5").Address Then

Range("F5").FormulaR1C1 = 0



End If

Else



End If



If Range("F5").Value = "" Then

If Target.Address = Range("D5").Address Then

Range("F5").FormulaR1C1 = 0



End If

Else



End If



If Range("F5").Value = "" Then

If Target.Address = Range("E5").Address Then

Range("F5").FormulaR1C1 = 1



End If

Else



End If

'----------------------------------------------


End Sub

17. กด Alt+F11 อีกครั้งเพื่อกลับมาที่ Excel

18. ทดสอบการทำงาน

















19. จากภาพจะเห็นว่าเมื่อเราคลิกที่ตัวเลือกเพื่อตอบคำถามที่โจทย์ถาม ตรงช่องคะแนนก็จะแสดงคะแนนทันที ส่วนที่ช่องรวมก็จะแสดงคะแนนที่ทำได้ด้วย....การตอบคำถามไม่ว่าจะผิดหรือถูก แถบสว่างก็จะกระโดดมาที่ข้อต่อไปทันที เพื่อพร้อมให้เราเล่นข้อต่อไป...


ฟังก์ชัน Permut และวิธีใช้งาน

ฟังก์ชัน Permut และวิธีใช้งาน ฟังก์ชัน Permut จัดเป็นฟังก์ชันทางด้านสถิติของ Excel มีหน้าที่ ส่งกลับจำนวนวิธีการเรียงสับเปลี่ยนที่เป็นไ... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน Permut และวิธีใช้งาน

ฟังก์ชัน Permut จัดเป็นฟังก์ชันทางด้านสถิติของ Excel

มีหน้าที่ ส่งกลับจำนวนวิธีการเรียงสับเปลี่ยนที่เป็นไปได้ทั้งหมด สำหรับจำนวนวัตถุที่กำหนดให้เลือกจากวัตถุทั้งหมด วิธีการเรียงสับเปลี่ยนแตกต่างจากวิธีการจัดหมู่ตรงที่วิธีการจัดหมู่ไม่มีนัยสำคัญของลำดับภายใน

รูปแบบสูตร Permut คือ Permut(numbr, number_chosen)

โดยที่ number คือ จำนวนวัตถุทั้งหมด

number_chosen คือ จำนวนวัตถุที่ให้เลือกในการเรียงสับเปลี่ยนแต่ละวิธี

ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องก็เช่น Binomdist, Combin, Critbinom, Fact, Hypgeomdist, Negbinomdist
ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน Permut ให้เราลองทำตามดังนี้

1. พิมพ์ N ที่เซลล์ A2

2. พิมพ์ K ที่เซลล์ A3

3. พิมพ์ Permut Calc ที่เซลล์ A5 ลี่เซลล์ A7 ให้พิมพ์ Permut

4. คลิกเซลล์ B2 แล้วพิมพ์ 10 แล้วคลิกเซลล์ B3 แล้วพิมพ์ 3

5. คลิกที่เซลล์ B5 แล้วพิมพ์ =fact(b2)/fact(b2-b3) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 720

6. คลิกที่เซลล์ B7 แล้วพิมพ์ =permut(b2,b3) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 720

ฟังก์ชัน PERCENTILE

ฟังก์ชัน PERCENTILE ฟังก์ชัน PERCENTILE จัดเป็น ฟังก์ชัน สถิติ มีหน้าที่ ส่งกลับค่าที่เท่ากบเปอร์เซ็นต์ไทล์ (percentile) ที่ k ของค่าในช่... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน PERCENTILE

ฟังก์ชัน PERCENTILE จัดเป็น ฟังก์ชัน สถิติ มีหน้าที่ ส่งกลับค่าที่เท่ากบเปอร์เซ็นต์ไทล์ (percentile) ที่ k ของค่าในช่วงที่ระบุ คุณสามารถใช้ฟังก์ชันนี้เพื่อสร้างขีดเริ่มเปลี่ยนการยอมรับ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถตัดสินใจได้ว่าจะทดสอบผู้สมัครที่มีคแนนสูงกว่าเปอร์เซ็นไทล์ที่ 90

รูปแบบสูตร คือ Percentile(array,k)

array คือ อาร์เรย์หรือช่วงของข้อมูล ซึ่งสามารถใช้กำหนดตำแหน่งสัมพัทธ์ได้

k คือค่าเปอร์เซ็นต์ไทล์ ในช่วงระหว่าง 0 ถึง 1

ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง เช่น Large, Max, Median, Min, Percentrank, Quartile

ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน Percentile ให้เราทำดังนี้

1. เลือกเซลล์ B2:B12 แล้วพิมพ์ตัวเลข จากนั้นกด Enter ไปจนครบดังนี้ 0,1,2,3,4,5,6,7,8,9,10

2. คลิกเซลล์ A14 แล้วพิมพ์ 0.2

3. คลิกเซลล์ B14 แล้วพิมพ์ =percentile(b2:b12,a14) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 2

4. เลือกเซลล์ E2:F8 แล้วพิมพ์ตัวเลขเข้าไปดังนี้ 33,44,55,33,44,66,44,66,77,88,55,33,11,33

5. คลิกเซลล์ E14 แล้วพิมพ์ที่ =percentile(e2:f8,a14) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 33

ฟังก์ชัน Or และวิธีการใช้งาน

ฟังก์ชัน Or และวิธีการใช้งาน ฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชัน ตรรกศาสตร์ของ Excel มีหน้าที่ ส่งค่า TRUE กลับ ถ้าอาร์กิวเมนต์ใดอาร์กิวเมนต์หนึ่งเป็... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน Or และวิธีการใช้งาน

ฟังก์ชัน เป็นฟังก์ชัน ตรรกศาสตร์ของ Excel

มีหน้าที่ ส่งค่า TRUE กลับ ถ้าอาร์กิวเมนต์ใดอาร์กิวเมนต์หนึ่งเป็น TRUE และส่งค่า FALSE กลับ ถ้าอาร์กิวเมนต์ทั้งหมดเป็น FALSE

รูปแบบสูตรของ ฟังก์ชัน คือ Or(logical1,logical2,…)

logical1, logical2,…เป็นเงื่อนไขที่ 1 ถึง 30 ซึ่งเราต้องการทดสอบ สามารถเป็นได้ทั้ง TRUE หรือ FALSe

ฟังก์ชัน ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ And, Not

ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน Or ให้เราทำดังนี้

1. เลือกเซลล์ A2:A5 แล้วพิมพ์ True แล้วกด Enter

2. พิมพ์ True แล้วกด Enter

3. พิมพ์ False แล้วกด Enter

4. พิมพ์ False

5. เลือกเซลล์ B2:B5 แล้วพิมพ์ True แล้วกด Enter

6. พิมพ์ False แล้วกด Enter

7. พิมพ์ True แล้วกด Enter

8. พิมพ์ False

9. คลิกเซลล์ C2 แล้วพิมพ์ =or(a2,b2) แล้วกด enter จะแสดงค่า TRUE

10. คลิกเซลล์ C3 แล้วพิมพ์ =or(a3,b3) แล้วกด Enter จะแสดงค่า TRUE

11. คลิกเซลล์ C4 แล้วพิมพ์ =or(a4,b4) แล้วกด Enter จะแสดงค่า TRUE

12. คลิกเซลล์ C5 แล้วพิมพ์ =or(a5,b5) แล้วกด Enter จะแสดงค่า FALSE

13. คลิกเซลล์ A7 แล้วพิมพ์ 100 แล้วคลิกเซลล์ B7 แล้วพิมพ์ 200 จากนั้นคลิกเซลล์ C7 แล้วพิมพ์ =or(a7<=100,b7<=100) แล้วกด Enter จะแสดงค่า TRUE

14. หากพิมพ์ 250 ที่เซลล์ A7 แล้วกด Enter ผลที่เซลล์ C7 จะแสดงค่า False

วันจันทร์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2557

ฟังก์ชัน ODDLYIELD และวิธีการใช้งาน

ฟังก์ชัน ODDLYIELD และวิธีการใช้งาน ฟังก์ชัน ODDLYIELD เป็น ฟังก์ชัน ทางด้านการเงิน ทำหน้าที่ ส่งกลับผลตอบแทนของหลักทรัพย์ด้วยคาบเวลาสุดท... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน ODDLYIELD และวิธีการใช้งาน

ฟังก์ชัน ODDLYIELD เป็น ฟังก์ชัน ทางด้านการเงิน ทำหน้าที่ ส่งกลับผลตอบแทนของหลักทรัพย์ด้วยคาบเวลาสุดท้ายที่เหลือ (สั้นหรือยาว)

รูปแบบสูตร คือ ODDLYIELD(settlement, maturity, last_interest,rate, per, redemption, frequency, basis)

Settlement คือ วันที่ทำข้อตกลงของหลักทรัพย์ ซึ่งก็คือวันที่ส่งมอบหลักทรัพย์ให้แก่ผู้ซื้อ

maturity คือ วันที่ครบกำหนดชำระของหลักทรัพย์ ซึ่งก็คือวันที่หลักทรัพย์หมดอายุลงนั่นเอง

last_interest คือวันที่จ่ายดอกเบี้ยครั้งสุดท้ายของหลักทรัพย์

rate คือ อัตราดอกเบี้ยของหลักทรัพย์

pr คือ ราคาของหลักทรัพย์
Redemtion คือ มูลค่าไถ่ถอนของหลักทรัพย์ต่อมูลค่าตามตราสาร 100 ดอลล่าร์

frequency คือ จำนวนครั้งในการชำระค่าตราสารต่อปี ในกรณีที่เป็นการชำระแบบรายปี frequency=1 ถ้าเป็นการชำระแบบรายครึ่งปี frequency=2 และถ้าเป็นการชำระแบบรายไตรมาส frequency=4

basis คือ ชนิดของหลักเกณฑ์ในการนับจำนวนวัน

ฟังก์ชัน ที่เกี่ยวข้อง ก็ได้แก่ Date, Oddfprice, Oddfyield, Oddlprice

ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชันนี้ ให้ทำดังนี้

1. เลือกเซลล์ A2:A9 แล้วพิมพ์ Settlement Date แล้วกด Enter พิมพ์ Maturity Date แล้วกด Enter พิมพ์ Last interest Date แล้วกด Enter พิมพ์ Rate แล้วกด Enter พิมพ์ Yield แล้วกด Enter พิมพ์ Redemption แล้วกด Enter พิมพ์ Frequency แล้วกด Enter พิมพ์ Basis แล้วกด Enter

2. เลือกเซลล์ B2:B9 แล้วพิมพ์ 7/2/1999 แล้วกด Enter

3. พิมพ์ 15/6/1999 แล้วกด Enter

4. พิมพ์ 15/10/1998 แล้วกด Enter

5. พิมพ์ 5.25% แล้วกด Enter

6. พิมพ์ 100.32 แล้วกด Enter

7. พิมพ์ 100 แล้วกด Enter

8. พิมพ์ 2 แล้วกด Enter

9. พิมพ์ 1 แล้วกด Enter

10. คลิกเซลล์ B11 แล้วพิมพ์ =Oddlyield(b2,b3,b4,b5,b6,b7,b8,b9) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 0.0425346 หากกำหนดเป็น Percentage จะแสดงค่า 4.25%

วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

ฟังก์ชัน Offset และวิธีการใช้งาน

ฟังก์ชัน Offset และวิธีการใช้งาน Offset เป็น ฟังก์ชัน การค้นหาและอ้างอิง ของ Excel ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าที่เป็นผลจากการอ้างอิงไปยังช่วง ... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน Offset และวิธีการใช้งาน

Offset เป็น ฟังก์ชัน การค้นหาและอ้างอิง ของ Excel

ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าที่เป็นผลจากการอ้างอิงไปยังช่วง ซึ่งการอ้างอิงไปยังช่วงดังกล่าวถูกระบุโดยจำนวนของแถวและจำนวนของคอลัมน์ซึ่งถูกนับจากเซลล์ หรือ ช่วงของเซลล์ที่คุณระบุ (ฐานสำหรับการออฟเซต) การอ้างอิงที่ส่งกลับมาอาจเป็นเซลล์เดียวหรือช่วงของเซลล์ คุณสามารถระบุจำนวนแถวและจำนวนคอลัมน์ที่ส่งกลับมาได้

รูปแบบของ ฟังก์ชัน คือ Offset(reference,rows,cols,heigh,width)

reference คือ จุดอ้างอิงที่เราต้องการใช้เป็นฐานของ offset นั้น reference จะต้องอ้างอิงกับเซลล์หรือช่วงของเซลล์หลายๆเซลล์ติดกัน มิฉะนั้น offset จะส่งกลับค่าความผิดพลาด #Value!

rows เป็นจำนวนของแถวที่คุณต้องการให้นับขึ้นหรือลงจากเซลล์ที่เป็นฐานของออฟเซตซึ่งอยู่มุมบนซ้าย ถ้ากำหนดให้อาร์กิวเมนต์ของ rows เท่ากับ 5 จะหมายถึงเซลล์ด้านบนซ้ายในการอ้างอิง 5 แถวที่อยู่ด้านล่างของการอ้างอิง ค่า rows อาจเป็นค่าบวก (ซึ่งหมายถึงใต้การอ้างอิงเริ่มต้น) หรือค่าลบ (ซึ่งหมายถึงเหนือการอ้างอิงเริ่มต้น) ก็ได้

cols เป็นจำนวนของคอลัมน์ทางซ้ายหรือขวาที่คุณต้องการให้นับจากเซลล์ที่เป็นฐานของการออฟเซต ซึ่งอยู่บนซ้ายของผลลัพธ์ ถ้ากำหนดให้อาร์กิวเมนต์ของ cols เท่ากับ 5 จะหมายถึงเซลล์ด้านบนซ้ายในการอ้างอิง คือคอลัมน์ 5 คอลัมน์ที่อยู่ด้านขวาของการอ้างอิง cols อาจเป็นค่าบวก (ซึ่งหมายถึงใต้การอ้างอิงเริ่มต้น) หรือค่าลบ (ซึ่งหมายถึงเหนือการอ้างอิงเริ่มต้น)

height เป็นความสูง (จำนวนแถว) ที่คุณต้องการให้เป็นผลลัพธ์ height จะต้องเป็นค่าบวก

width เป็นความกว้าง (จำนวนของคอลัมน์) ที่คุณต้องการให้เป็นผลลัพธ์ width จะต้องเป็นค่าบวก

ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน offset

1. เลือกเซลล์ A2:A5 แล้วพิมพ์ Rows แล้วกด Enter

2. พิมพ์ Cols แล้วกด Enter

3. พิมพ์ Height แล้วกด Enter

4. พิมพ์ Width แล้วกด Enter

5. เลือกเซลล์ D2:G6 แล้วพิมพ์ตัวเลขและกด Enter ไปจนครบด้งนี้

1,2,3,4,5,6,7,8,9,10,11,12,13,14,15,16,17,18,19,20

6. เลือกเซลล์ B2:B5 แล้วพิมพ์ 1 แล้วกด Enter

7. พิมพ์ 2 แล้วกด Enter

8. พิมพ์ 3 แล้วกด Enter

9. พิมพ์ 2 แล้วกด Enter

10. คลิกเซลล์ B7 แล้วพิมพ์ =offset(d2,b2,b3) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 12

11. คลิกเซลล์ B8 แล้วพิมพ์ =sum(offset(d2,b2,b3,b4,b5)) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 93

วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557

ฟังก์ชัน MDURTION พร้อมตัวอย่างการใช้งาน

ฟังก์ชัน MDURTION พร้อมตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน mduration เป็นฟังก์ชัน ประเภทการเงิน mduration คือ ฟังก์ชันที่ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าระยะ... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน MDURTION พร้อมตัวอย่างการใช้งาน
ฟังก์ชัน mduration เป็นฟังก์ชัน ประเภทการเงิน

mduration คือ ฟังก์ชันที่ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าระยะเวลาแก้ไขสำหรับหลักทรัพย์ที่มีมูลค่าสมบัติที่ตาไว้ $100

รูปแบบสูตรของ ฟังก์ชัน mduration คือ mduration(settlements, maturity, coupon, yld, frequency, basis)

โดยที่พารามิเตอร์แต่ละตัว มีความหมายดังนี้

settlement คือ วันที่ทำข้อตกลงของหลักทรัพย์ ซึ่งก็คือวันที่ส่งมอบหลักทรัพย์ให้แก่ผู้ซื้อ

maturity คือวันที่ครบกำหนดชำระของหลักทรัพย์ ซึ่งก็คือวันที่หลักทรัพย์หมดอายุลงนั่นเอง

coupon คือ อัตราดอกเบี้ยรายปีตามตราสารของหลักทรัพย์

yld คือ ผลตอบแทนรายปีของหลักทรัพย์

frequency คือ จำนวนครั้งในการชำระค่าตราสารต่อปี ในกรณีที่เป็นการชำระแบบรายปี frequency = 1 ถ้าเป็นการชำระแบบรายครึ่งปี frequency =2 และถ้าเป็นการชำระแบบรายไตรมาส frequency = 4

รูปแบบสูตรทางคณิตศาสตร์ คือ mduration = duration/(1+(market yield)/coupon payments per year)

ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง ก็เช่น Duration

ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน Mduration

1. เลือกเซลล์ A2:A7 แล้วพิมพ์ Settlement Date จากนั้น กด Enter พิมพ์ Maturity Date กด Enter พิมพ์ coupon กด Enter พิมพ์ yld กด Enter พิมพ์ Frequency กด Enter พิมพ์ basis กด Ener

2. เลือกเซลล์ B2:B7 แล้วพิมพ์ 1/1/100 แล้วกด Enter พิมพ์ 1/1/07 แล้วกด Enter พิมพ์ 5.25% แล้วกด Enter พิมพ์ 6.50% แล้วกด Enter พิมพ์ 2 แล้วกด Enter พิมพ์ 1 แล้วกด Enter

3. คลิกเซลล์ B9 แล้วพิมพ์ =duration(b2,b3,b4,b5,b6,b7) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 5.900714

4. คลิกเซลล์ B10 แล้วพิมพ์ =b9/(1+b5/b6) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 5.714977u

5. คลิกเซลล์ B12 แล้วพิมพ์ =mduration(b2,b3,b4,b5,b6,b7) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 5.714977

วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557

ฟังก์ชัน PEARSON และ การใช้งาน

ฟังก์ชัน PEARSON ฟังก์ชัน PEARSON จัดเป็นฟังก์ชัน ด้านสถิติ ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของผลิตภัณฑ์เพียรสัน (Pearson produ... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน PEARSON

ฟังก์ชัน PEARSON จัดเป็นฟังก์ชัน ด้านสถิติ ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของผลิตภัณฑ์เพียรสัน (Pearson product moment correlation) หรือ ค่า R ดัชนีที่ไม่มีมิติที่อยู่ในช่วงตั้งแต่ -1.0 ถึง 1.0 และแสดงขอบเขตความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างชุดข้อมูลสองชุด

รูปแบบสูตรของ ฟังก์ชัน นี้คือ Pearson(array1,array2)

array1 เป็นชุดของค่าที่เป็นอิสระ

array2 เป็นชุดของค่าที่ไม่เป็นอิสระ

ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง เช่น Intercept, Linest, Rsq, Slope, Stexy

ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน pearson ทำได้ดังนี้

1. ระบายเซลล์ B1:F1 แล้วพิมพ์ x และกด Enter พิมพ์ y และกด Enter พิมพ์ xy แล้วกด Enter พิมพ์ X^2 แล้วกด Enter พิมพ์ Y^2 แล้วกด Enter

2. ระบายเซลล์ B2:B7 จากนั้นพิมพ์ 8 แล้วกด Enter พิมพ์ 4 แล้วกด Enter พิมพ์ 7 แล้วกด Enter พิมพ์ 6 แล้วกด Enter พิมพ์ 2 กด Enter พิมพ์ 5 แล้วกด Enter

3. ระบายเซลล์ C2:C7 จากนั้นพิมพ์ 9 แล้วกด Enter พิมพ์ 2 แล้วกด Enter พิมพ์ 9 แล้วกด Enter พิมพ์ 3 แล้วกด Enter พิมพ์ 4 แล้วกด Enter พิมพ์ 6 แล้วกด Enter

4. คลิกเซลล์ A8 พิมพ์ Sum แล้วคลิก A9 แล้วพิมพ์ n คลิก A11 พิมพ์ R Calc แล้วคลิก A13 แล้วพิมพ์ R

5. คลิกเซลล์ D2 แล้วพิมพ์ =B2^c2 แล้วกด Enter จากนั้น Auto Fill สูตรลงมาที่เซลล์ D7

6. คลิกเซลล์ E2 แล้วพิมพ์ =b2^2 แล้วกด Enter จากนั้น Auto Fill สูตรลงมาที่เซลล์ E7

7. คลิกเซลล์ F2 แล้วพิมพ์ =C2^2 แล้วกด Enter จากนั้น Auto fill สูตรลงมาที่เซลล์ F7

8. ระบายเซลล์ B8:F8 แล้วคลิกปุ่ม Auto sum

9. คลิกเซลล์ B9 แล้วพิมพ์ =count(b2:b7)แล้วกด Enter จะแสดงค่า 6

10. คลิกเซลล์ B11 แล้วพิมพ์ =(b9*d8-b8*c8)/sqrt((b9*e8-b8^2)*(b9*f8-c8^2)) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 0.705885

11. คลิกเซลล์ B13 แล้วพิมพ์ =Pearson(b2:b7,c2:c7) และกด Enter จะแสดงค่า 0.705885

ฟังก์ชัน SYD และวิธีการใช้งาน

ฟังก์ชัน SYD ฟังก์ชัน SYD คือ ฟังก์ชันการเงิน ของ Excel ทำหน้าที่ส่งกลับค่าเสื่อมราคาแบบผลรวมจำนวนปี (Sum of years ‘digits) ของสินทรัพย์... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน SYD

ฟังก์ชัน SYD คือ ฟังก์ชันการเงิน ของ Excel ทำหน้าที่ส่งกลับค่าเสื่อมราคาแบบผลรวมจำนวนปี (Sum of years ‘digits) ของสินทรัพย์สำหรับคาบเวลาที่ระบุ

รูปแบบสูตรของ ฟังก์ชัน SYD คือ SYD(cost,salvage,life,per)

โดยตัวแปรแต่ละตัวมีความหมายดังนี้คือ


Cost คือ ต้นทุนแรกเริ่มของสินทรัพย์

Salvage คือ มูลค่าที่เหลืออยู่หลังจากหักค่าเสื่อมราคาแล้ว (บางครั้งก็เรียกว่า มูลค่าซากของสินทรัพย์)

Per คือ งวดที่ระบุ ต้องใช้หน่วยเดียวกับอายุการใช้งานของสินทรัพย์

รูปแบบสูตรทางคณิตศาสตร์ คือ SYD=((cost-salvage)*(life-per+1)*2)/(life)*(life+1))

ฟังก์ชันที่มีความเกี่ยวข้องกับ ฟังก์ชัน SYD คือ DDB,SLN,VDB

ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน SYD ให้เราลองทำดังนี้

1. เลือกเซลล์ A2:A5 แล้วพิมพ์ Cost จากนั้นกด Enter

2. พิมพ์ Salvage แล้วกด Enter

3. พิมพ์ Life แล้วกด Enter

4. พิมพ์ Per แล้วกด Enter

5. คลิกเซลล์ A7 พิมพ์ SYD Calc

6. คลิกเซลล์ A9 แล้วพิมพ์ SYD

7. เลือกเซลล์ B2:B5 แล้วพิมพ์ 50000 แล้วกด Enter

8. พิมพ์ 500 แล้วกด Enter

9. พิมพ์ 5 แล้วกด Enter

10. พิมพ์ 1 แล้วกด Enter

11. คลิกเซลล์ B7 แล้วพิมพ์ =(b2-b3)*(b4-b5+1)*2/(b4*(b4+1)) จากนั้น กด Enter จะแสดงค่า 16500

12. ทดลองแก้ไขตัวเลขในแถวที่ 5 เป็น 2 หรือ 3 หรือ 4 หรือ 5 จะเห็นผลของค่าเสื่อมราคาในแถวที่ 7 เปลี่ยนไป ยิ่งจำนวนปีมากขึ้น ค่าเสื่อมก็จะลดน้อยลงไป

13. คลิกเซลล์ B9 แล้วพิมพ์ =syd(b2,b3,b4,b5) จากนั้นกด Enter จะแสดงค่า 16500 และ AutoFill สูตรไปที่เซลล์ F9

อ่านแต่ละข้อให้ดีน่ะครับ ลองเปรียบเทียบวิธีใช้งาน ฟังก์ชัน Syd กับวิธีการคำนวณด้วยสูตรทางคณิตศาสตร์ดูว่าได้ผลเหมือนกันหรือไม่อย่างไร แล้วเราจะเข้าใจ ฟังก์ชัน Syd มากขึ้น....เรียนรู้ ฟังก์ชัน Excel ด้วยการฝึกทำโจทย์ด้วยตนเองย่อมดีกว่าการอ่านเฉยๆ อย่างแน่นอน

วันอังคารที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2557

ฟังก์ชัน Prob และวิธีการใช้งาน

ฟังก์ชัน Prob และวิธีการใช้งาน ฟังก์ชัน Prob จัดเป็นฟังก์ชัน ด้านสถิติ ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าความน่าจะเป็นที่ค่าในช่วงจะอยู่ระหว่างสองขีดจำ... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน Prob และวิธีการใช้งาน

ฟังก์ชัน Prob จัดเป็นฟังก์ชัน ด้านสถิติ ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าความน่าจะเป็นที่ค่าในช่วงจะอยู่ระหว่างสองขีดจำกัด (limit) หรือเท่ากับขีดจำกัดต่ำสุด (lower limit) ถ้าระบุเพียงขีดจำกัดต่ำสุด

รูปแบบสูตรของฟังก์ชัน prob คือ prob(x_range,prob_range,lowe_limit,upper_limit)
x_range คือ ช่วงของค่าตัวเลขของ x ที่มีความน่าจะเป็นสัมพันธ์อยู่กับแต่ละค่าตัวเลข

prob_range คือชุดของความน่าจะเป็นที่สัมพันธ์กับค่าใน x_range

lower_limit
คือ ขีดจำกัดล่างของค่าที่เราต้องการใช้ในการหาค่าความน่าจะเป็น

upper_limit คือขีดจำกัดบนของค่า (ใส่หรือไม่ก็ได้) ที่คุณต้องการใช้ในการหาค่าความน่าจะเป็น

ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้อง เช่น Binomdist, Cribinom

ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชัน Prob


1. เลือกเซลล์ A2:A7 แล้วพิมพ์ 1 จากนั้นกด Enter

2. พิมพ์ 2 แล้วกด Enter

3. พิมพ์ 3 แล้วกด Enter

4. พิมพ์ 4 แล้วกด Enter

5. พิมพ์ 5 แล้วกด Enter

6. พิมพ์ 6 แล้วกด Enter

7. เลือกเซลล์ B2:B7 แล้วพิมพ์ 0.1 แล้วกด Enter

8. พิมพ์ 0.2 แล้วกด Enter

9. พิมพ์ 0.3 แล้วกด Enter

10. พิมพ์ 0.2 แล้วกด Enter

11. พิมพ์ 0.1 แล้วกด Enter

12. พิมพ์ 0.1 แล้วกด Enter

13. คลิกเซลล์ B8 แล้วคลิกปุ่ม Auto Sum จะแสดงค่า 1

14. คลิกเซลล์ B9 แล้วพิมพ์ =prob(a2:a7,b2:b7,4) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 0.2

15. คลิกเซลล์ B10 แล้วพิมพ์ =prob(a2:a7,b2:b7,3,5) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 0.6

16. เลือกเซลล์ C2:C7 แล้วพิมพ์ 0 แล้กด Enter

17. พิมพ์ 2 แล้วกด Enter

18. พิมพ์ 4 แล้วกด Enter

19. พิมพ์ 6 แล้วกด Enter

20. พิมพ์ 8 แล้วกด Enter

21. พิมพ์ 10 แล้วกด Enter

22. เลือกเซลล์ D2:D7 แล้วพิมพ์ 0.1 แล้วกด Enter

23. พิมพ์ 0.2 แล้กด Enter

24. พิมพ์ 0.3 แล้วกด Enter

25. พิมพ์ 0.2 แล้วกด Enter

26. พิมพ์ 0.1 แล้วกด Enter

27. พิมพ์ 0.1 แล้วกด Enter

28. คลิกเซลล์ D9 แล้วพิมพ์ =prob(c2:c7,d2:d7,5,7) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 0.2 หากพิมพ์ =prob(c2:c7,d2:d7,5,9) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 0.

วันจันทร์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2557

ฟังก์ชัน MDETERM และตัวอย่างการใช้งาน

ฟังก์ชัน MDETERM MDETERM จัดเป็น ฟังก์ชัน ด้านคณิตศาสตร์และตรีโกณมิติของ Excel มีหน้าที่ ส่งกลับค่าแมทริกซ์ดีเทอร์มิแนนต์ (matrix deter... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน MDETERM

MDETERM จัดเป็น ฟังก์ชัน ด้านคณิตศาสตร์และตรีโกณมิติของ Excel

มีหน้าที่ ส่งกลับค่าแมทริกซ์ดีเทอร์มิแนนต์ (matrix determinant) ของอาร์เรย์

โดย MDETERM มีรูปแบบดังนี้คือ MDETERM(array)

โดยที่ตัวแปรอาร์เรย์ array คือ อาร์เรย์ของตัวเลขที่มีจำนวนแถวและจำนวนคอลัมน์เท่ากัน

ฟังก์ชัน ที่เกี่ยวข้องกับ ฟังก์ชัน MDETERM คือ MINVERSE, MMULT, TRANSPOSE

ตัวอย่างการใช้งาน ให้เราลองทำตามขั้นตอนต่อไปนี้

1. พิมพ์ 2 ที่เซลล์ B2 แล้วพิมพ์ 3 ที่เซลล์ B3 พิมพ์ 4 ที่เซลล์ C2 แล้วพิมพ์ 8 ที่เซลล์ C3

2. ระบายเซลล์ F2:H4 จากนั้นพิมพ์ 1 กด Enter พิมพ์ 2 กด enter พิมพ์ 5 กด Enter พิมพ์ 4 กด enter พิมพ์ 5 กด enter พิมพ์ 6 กด Enter พิมพ์ 7 กด Enter พิมพ์ 8 กด Enter พิมพ์ 5 กด Enter

3. คลิกเซลล์ C6 แล้วพิมพ์ =2*8*3*4 จากนั้นกด Enter จะแสดงค่า 4

4. คลิกเซลล์ C7 แล้วพิมพ์ =mdeterm(b2:c3) แล้วก็กด enter จะแสดงค่า 4

5. คลิกเซลล์ F6 แล้วพิมพ์ =1*5*5+2*6*7+5*4*8*5*5*7-2*4*5-1*6*8 แล้วกด enter จะแสดงค่า 6

6. คลิกเซลล์ F7 แล้วพิมพ์ =mdeterm(f2:h4) และกด Enter จะแสดงค่า 6 อออกมา
ว่างๆจะเอาตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับ ฟังก์ชัน MDETERM มาให้ดูอีกนะครับ วันนี้ขอเพียงเท่านี้ก่อน.

วันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2557

ฟังก์ชัน KURT

ฟังก์ชัน KURT ฟังก์ชัน KURT เป็น ฟังก์ชัน ประเภทสถิติ ทำหน้าที่ส่งกลับค่าเคอร์โทซิส (Kurtosis) ของชุดข้อมูลเคอร์โทซิสจะให้ลักษณะความสูงหร... thumbnail 1 summary
ฟังก์ชัน KURT

ฟังก์ชัน KURT เป็น ฟังก์ชัน ประเภทสถิติ ทำหน้าที่ส่งกลับค่าเคอร์โทซิส (Kurtosis) ของชุดข้อมูลเคอร์โทซิสจะให้ลักษณะความสูงหรือความกว้างของการแจกแจงที่สอดคล้องเมื่อเปรียบเทียบการแจกแจงธรรมดา โดย เคอร์โทซิส (kurtosis) เชิงบวกระบุถึงการแจกแจงแนวสูงที่สอดคล้อง kurtosis เชิงลบจะระบุถึงการแจกแจงแนวกว้างที่สอดคล้อง

รูปแบบสูต Kurt(number1,number2,…)
number1, number2, … คืออาร์กิวเมนต์ 1 ถึง 50 อาร์กิวเมนต์ที่ต้องการคำนวณหาค่าเคอร์โทซิสโดยสามารถใช้อาร์เรย์เดียว หรือใช้การอ้างอิงไปยังอาร์เรย์แทนการใช้อาร์กิวเมนต์ที่คั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค

ฟังก์ชัน ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ SKEW, STDEV, STDEVP, VAR, VARP

ตัวอย่างการใช้งาน สูตร Excel สูตรนี้ มีดังนี้

1. ระบายเซลล์ A12:A16 แล้วพิมพ์ SumColc และกด Enter พิมพ์ xbar และกด Enter พิมพ์ s และกด Enter พิมพ์ n และกด Enter พิมพ์ Kurt Calc

2. ระบายเซลล์ B1:B11 แล้วพิมพ์ x และกด Enter พิมพ์ 3 และกด Enter พิมพ์ 4 และกด Enter พิมพ์ 5 และกด Enter พิมพ์ 2 และกด Enter พิมพ์ 3 และกด Enter พิมพ์ 4 และกด Enter พิมพ์ 5 และกด Enter พิมพ์ 6 และกด Enter พิมพ์ 4 และกด Enter พิมพ์ 7 และกด Enter

3. คลิกเซลล์ C1 แล้วพิมพ์ (Xi-Xbar)/s)^4

4. คลิกเซลล์ F9 แล้วพิมพ์ KURT

5. คลิกเซลล์ B13 แล้วพิมพ์ =average(b2:b11) และกด Enter จะแสดงค่า 4.3

6. คลิกเซลล์ B14 แล้วพิมพ์ =stdev(b2:b11) และกด Enter จะแสดงค่า 1.494434

7. คลิกเซลล์ B15 แล้วพิมพ์ =count(b2:b11) และกด enter จะแสดงค่า 10

8. คลิกเซลล์ C2 แล้วพิมพ์ =((b2-$b$13)/$b$14)^4 และกด Enter จะแสดงค่า 0.57262

9. Auto Fill สูตรจากเซลล์ C2 ลงมาจนถึงเซลล์ C11 จะแสดงผลให้เห็น

10. คลิกเซลล์ C12 แล้วคลิกปุ่ม Auto Sum จะแสดงค่า 19.1863

11. คลิกเซลล์ B16 แล้วพิมพ์ =b15*(b15+1)/((b15-1)*(b15-2)*(b15-3))*c12-3*(b15-1)^2/((b15-2)*(b15-3)) และกด Enter จะแสดงค่า -0.1518

12. คลิกเซลล์ G9 แล้วพิมพ์ =kurt(b2:b11) และกด Enter จะแสดงค่า -0.1518

วันพฤหัสบดีที่ 18 กันยายน พ.ศ. 2557

มาโคร บน Excel การจัดรูปแบบตัวอักษร

มาโคร บน Excel การจัดรูปแบบตัวอักษร การค้นหาที่เกี่ยวข้องกับ มาโคร มาโคร คือ โปรแกรมมาโคร มาโคร คีย์บอร์ด มาโคร คือชุดคำสั่งที่ถ... thumbnail 1 summary
มาโคร บน Excel การจัดรูปแบบตัวอักษร

การค้นหาที่เกี่ยวข้องกับ มาโคร

มาโคร คือ โปรแกรมมาโคร มาโคร คีย์บอร์ด

มาโคร
คือชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่ออำนวยความสะดวกให้กับผู้ใช้งาน ลดขั้นตอนที่ซ้ำซากจำเจ ย่นระยะเวลาการทำงานลงได้

มาโคร นั้นมีทั้งแบบยากและ แบบง่าย ขึ้นอยู่กับว่าผู้ใช้งาน มาโคร จะสร้างมาโครขึ้นมาอย่างไร เดี๋ยวนี้เราสามารถหาซื้อตัว มาโคร มาใช้ได้ โดยซื้อมาจากผู้พัฒนาอิสระต่างๆ หรือถ้าไม่อยากเสียเงินซื้อมาโคร ก็แนะนำให้สร้างขึ้นมาเองจะดีที่สุด ประหยัดทั้งเงิน ประหยัดทั้งเวลาได้เช่นกัน

ในโปรแกรมชุดของ Microsoft Office ทั้งหลาย โปรแกรมแต่ละตัว ไม่ว่าจะเป็น Microsoft Word, Microsoft Excel, Microsoft PowerPoint, Microsoft Access, Microsoft Publisher และโปรแกรมตัวอื่นๆในชุดของ Microsoft Office ก็สามารถจะสร้าง มาโคร ขึ้นมาได้ด้วยกันทั้งนั้น

ในการสร้าง มาโครในวันนี้ เราจะสอนการสร้าง มาโคร แบบง่ายๆ เพื่อเป็นแนวทางในการสร้าง มาโครแบบยากต่อๆไป...

มีคำกล่าวที่ว่า หากตัวอย่างไม่มากพอ ก็ยากที่จะทำให้บางคนบรรลุวัตถุประสงค์ในการเรียนรู้บางอย่างได้ (ขอย้ำว่าบางคนน่ะครับ เพราะบางคนเรียนรุ้จากตัวอย่างไม่กี่ตัวอย่างก็สามารถนำไปประยุกต์ต่อยอดได้แล้ว)

การสร้างมาโคร เราจะต้องมีการวางแผนก่อน กล่าวคือ เราจะต้องทราบว่า จะให้มาโครของเราเกิดผลที่ใด เช่น เมื่อสั่งรันให้มาโครทำงานแล้ว จะให้เกิดอะไรขึ้น เกิดขึ้นที่เซลล์ไหน ที่ worksheet ไหน หรือ เกิดขึ้นที่ workbook ไหน อะไรอย่างนี้

เราลองมาทำ มาโคร อย่างง่ายๆตามหัวข้อที่ได้ขึ้นไว้ดีกว่า

ก่อนจะวิเคราะห์และลงมือสร้างมาโคร เราต้องทราบความต้องการก่อนว่ามาโครเราจะทำอะไรบ้าง...สมมติว่าเราต้องการให้เมื่อเราสั่งงาน มาโคร

ตัวหนังสือที่อยู่ในเซลล์ใดๆ มีขนาด 18 และมีสีแดง โดยเซลล์นั้นต้องถูกเลือกก่อนน่ะ

เมื่อเราทราบความต้องการแล้ว ให้เราทำดังต่อไปนี้

1. คลิกที่เซลล์ใดๆ สมมติว่าเป็นเซลล์ A1

2. ไปที่แท็บ Developer

3. คลิกที่ Record Macro (บันทึกมาโคร)

4. ตรงช่อง Macro Name : ตั้งชื่อ Macro นี้ว่า SetfontsizeAndSetFonttoRed ตั้งเป็นชื่อสั้นๆแต่สื่อความหมายกว่านี้ก็ได้ครับ (ตั้งให้สื่อความหมายจะดีครับ)

5. ตรงช่อง Store Macro in : เลือกเป็น This workbook

6. ตรงช่อง Description เป็นการใส่คำอธิบายว่า Macro เราทำงานอย่างไร จะใส่หรือไม่ก็ได้

7. กด Ok

8. ไปที่แท็บ Home

9. เลือกขนาด Font เป็น 18

10. เลือกสี Font เป็นสีแดง

11. ไปที่แท็บ Developer อีกครั้ง

12. กด Stop Recording

13. ไปที่แท็บ Home อีกครั้ง หาคำว่า clear format (เป็นรูปยางลบ แล้วกด เคลียร์ เพื่อล้างรูปแบบที่เซลล์ A1 ทิ้งทั้งหมด)

14. ลองพิมพ์ข้อความหรือตัวเลขใดๆที่เซลล์ A1 ดู แล้วกด Enter

15. เลือกเซลล์ A1 โดยการคลิ้กที่เซลล์ A1 หนึ่งครั้ง

16. กด alt+f8 เพื่อเรียกใช้ macro

17. เมื่อกล่องสั่งาน มาโคร ปรากฏให้เราเลือกที่ช่อง Macro Name เป็น SetfontsizeAndSetFonttoRed จากนั้นกด Run เพื่อสั่งให้ มาโคร ทำงาน

18. ลองสังเกตผลดู เราจะเห็นว่า ตัวหนังสือในเซลล์ A1 มีขนาด 18 และ ตัวหนังสือเป็นสีแดง



19. หากเราเลือกที่เซลล์อื่นๆ แล้วสั่งให้ มาโคร ทำงาน ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะเหมือนเช่นเซลล์ A1 ครับ

จากตัวอย่างเราจะเห็นว่า มาโคร ช่วยย่อการทำงานของเราให้สั้นลงได้มากเลย เราสั่งงานเพียงครั้งเดียว มันทำให้ตั้ง 2 งาน นั่นคือ ใส่สี font และ เพิ่มขนาด font…หวังว่าคงเข้าใจ มาโครขึ้นมาบ้างแล้วใช่ไหมเอ่ย ครั้งต่อๆไปจะนำเสนอเรื่องมาโครให้มากขึ้น แต่จะพยายามเอาตัวอย่างง่ายๆมาก่อนนะครับ หัดสร้างแบบง่ายๆไปก่อนจากนั้นเราค่อยไปว่าเรื่องของการแก้ไข มาโคร การกำหนดคีย์ลัดให้มาโครเพื่อความรวดเร็วกว่านี้อีก...สำหรับวันนี้ขอจบเรื่อง มาโคร การจัดรูปแบบ font แต่เพียงเท่านี้ครับ....

สูตร Excel การใช้ฟังก์ชั่น SUMXMY2

สูตร Excel สูตรนี้สาวออฟฟิศ ธรรมดาๆคนหนึ่ง คงไม่เคยได้ใช้เป็นแน่...เพื่อนสาวของผมคนหนึ่ง ไปอ่านเจอ สูตร Excel ตัวนี้เกิดอาการงง อ่านใน Hel... thumbnail 1 summary
สูตร Excel สูตรนี้สาวออฟฟิศ ธรรมดาๆคนหนึ่ง คงไม่เคยได้ใช้เป็นแน่...เพื่อนสาวของผมคนหนึ่ง ไปอ่านเจอ สูตร Excel ตัวนี้เกิดอาการงง อ่านใน Help ก็ไม่ค่อยเข้าใจสักเท่าไหร่ ก็เลยโทรมาสอบถาม ผมก็เลยถือโอกาสเอาฟังก์ชั่นตัวนี้มาให้ศึกษากันครับลองอ่านดูน่ะครับ ไม่มีภาพน่ะครับ ลองทำตามตัวอย่างการใช้งานแล้วสังเกตผลลัพธ์เอาเองนะ..

สูตร Excel การใช้ฟังก์ชั่น SUMXMY2

สูตร Excel วันนี้เราจะพาไปรู้จักฟังก์ชั่น ทางด้านคณิตศาสตร์และตรีโกณมิติ อีกตัวหนึ่งนั่นคือ SUMXMY2 ฟังก์ชั่นนี้มีหน้าที่ คำนวณหาความแตกต่างของค่าที่สอดคล้องกันในช่วง 2 ช่วงหรืออาร์เรย์ 2 อาร์เรย์แล้วส่งกลับค่าผลรวมของผลต่างของค่าที่สอดคล้องกันยกกำลังสอง

รูปแบบสูตรของ SUMXMY2 คือ SUMXMY2(array_x,array_y)

array_x คือ อาร์เรย์แรก หรือ ช่วงของค่าช่วงแรก

array_y
คือ อาร์เรย์ที่สอง หรือ ช่วงของค่าช่วงที่สอง

ฟังก์ชั่นหรือสูตรที่เกี่ยวข้องทำงานคล้ายๆกัน เช่น SUMPRODUCT, SUMX2PY2, SUMX2MY2

ตัวอย่างการใช้งานสูตร SUMXMY2 ให้ลองทำดังนี้

1. เลือกเซลล์ B1:B7 แล้วพิมพ์ x กด Enter

2. พิมพ์ 2 แล้วกด Enter

3. พิมพ์ 6 แล้วกด Enter

4. พิมพ์ 8 แล้วกด Enter

5. พิมพ์ 7 แล้วกด Enter

6. พิมพ์ 12 แล้วกด Enter

7. พิมพ์ 9 แล้วกด Enter

8. เลือกเซลล์ C1:C7

9. พิมพ์ Y แล้วกด Enter

10. พิมพ์ 8 แล้วกด Enter

11. พิมพ์ 5 แล้วกด Enter

12. พิมพ์ 2 แล้วกด Enter

13. พิมพ์ 6 แล้วกด Enter

14. พิมพ์ 4 แล้วกด Enter

15. พิมพ์ 7 แล้วกด Enter

16. คลิกเซลล์ D1 พิมพ์ (X-Y)^2 แล้วกด Enter

17. ระบายเซลล์ D2:D7 พิมพ์ =(b2-c2)^2 จากนั้นกด Ctrl + Enter จะแสดงผลให้เห็น

18. คลิกเซลล์ D9 แล้วดับเบิลคลิกปุ่ม Auto Sum จะโชว์ผลรวมเป็น 142

19. คลิกเซลล์ D10 แล้วพิมพ์ =sum((b2:b7-c2:c7)^2) กด Ctrl + Shift + Enter จะแสดงค่า 142

20. คลิกเซลล์ D11 แล้วพิมพ์ =sumxmy2(b2:b7,c2:c7) กด Enter จะแสดงค่า 142

วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557

สูตร Excel การใช้ฟังก์ชั่น Large

สูตร Large และวิธีการใช้งาน Large คือฟังก์ชั่นประเภท สถิติ ทำหน้าที่ คืนค่าที่มากที่สุดลำดับที่ k ในชุดข้อมูล คุณสามารถใช้ฟังก์ชั่นนี้เ... thumbnail 1 summary
สูตร Large และวิธีการใช้งาน

Large คือฟังก์ชั่นประเภท สถิติ

ทำหน้าที่ คืนค่าที่มากที่สุดลำดับที่ k ในชุดข้อมูล คุณสามารถใช้ฟังก์ชั่นนี้เลือกค่าโดยขึ้นกับการวางค่าที่สอดคล้อง ตัวอย่าง เช่น คุณสามารถใช้ฟังก์ชั่น Large ส่งกลับค่าสูงสุด รองลงมาและอันดับที่สาม

สูตร Large(array,k)

array คืออาร์เรย์หรือช่วงของข้อมูลที่คุณต้องการหาค่าที่มากที่สุดลำดับที่ k

k คือ ลำดับที่ของความเป็นค่าที่มากที่สุดในอาร์เรย์หรือช่วงของข้อมูลที่คุณต้องการใหส่งค่ากลับ

ฟังก์ชั่นที่เกี่ยวข้อง เช่น Percentile, Percentrank, Quartile

ตัวอย่างการใช้ สูตร Large

1. เลือกเซลล์ B1:B11 แล้วพิมพ์ x และกด Enter พิมพ์ 3 และกด Enter

พิมพ์ 4 และกด Enter พิมพ์ 5 และกด Enter พิมพ์ 2 และกด Enter
พิมพ์ 3 และกด Enter พิมพ์ 4 และกด Enter พิมพ์ 5 และกด Enter พิมพ์ 6 และกด Enter พิมพ์ 4 และกด Enter พิมพ์ 7 และกด Enter

2. Auto Fill ข้อมูลตั้งแต่เซลล์ B1:B11 ไปที่ C1:C11

3. คลิกเซลล์ C1 แล้วพิมพ์ Xsort จากนั้นคลิกปุ่ม Sort Z-A

4. ระบายเซลล์ E2:E6 แล้วพิมพ์ 1 กด Enter พิมพ์ 2 กด Enter พิมพ์ 3 กด Enter พิมพ์ 4 กด Enter พิมพ์ 5 กด Enter

5. คลิกเซลล์ F2 แล้วพิมพ์ =large($b$2:$b$11,e2) และกด Enter จะแสดงค่า 7 จากนั้น Auto Fill สูตรลงมาที่เซลล์ F6 จะแสดงตัวเลขที่มีค่ามากเรียงลำดับลงมาน้อย

สูตร Excel วิธีใช้ ฟังก์ชั่น LCM

สูตร Excel วิธีใช้ ฟังก์ชั่น LCM ฟังก์ชั่น LCM เป็นฟังก์ชั่นประเภทคณิตศาสตร์และตรีโกณมิติ ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ข... thumbnail 1 summary
สูตร Excel วิธีใช้ ฟังก์ชั่น LCM

ฟังก์ชั่น LCM เป็นฟังก์ชั่นประเภทคณิตศาสตร์และตรีโกณมิติ

ทำหน้าที่ ส่งกลับค่าตัวคูณร่วมน้อย (ค.ร.น.) ของเลขจำนวนเต็มตัวคูณร่วมน้อยเป็นเลขจำนวนเต็มบวกที่น้อยที่สุดที่มีตัวคูณของอาร์กิวเมนต์จำนวนเต็มทั้งหมด เช่น number1, number2, และอื่นๆ ให้ใช้ LCM ในการบวกเศษกับส่วน

รูปแบบสูตร LCM(number1,number2,…)

โดยที่ number1, number2,….คือค่า 1 ถึง 29 ค่าใดๆที่คุณต้องการหาตัวคูณร่วมน้อย ถ้าค่าไม่ใช่จำนวนเต็ม ค่านั้นจะถูกปัดเศษทิ้ง

ฟังก์ชั่นที่มีความเกี่ยวข้องกัน ก็เช่น GCD

ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชั่น LCM

1. คลิกเซลล์ B2 แล้วพิมพ์ 12 จากนั้นคลิกเซลล์ B3 แล้วพิมพ์ 36

2. คลิกเซลล์ B5 แล้วพิมพ์ =lcm(b2,b3) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 36

วันจันทร์ที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2557

ASC function and ways to use

ASC function and ways to use This article describes the formula syntax and usage of the ASC function (function: A prewritten formula... thumbnail 1 summary

ASC function and ways to use
This article describes the formula syntax and usage of the ASC function (function: A prewritten formula that takes a value or values, performs an operation, and returns a value or values. Use functions to simplify and shorten formulas on a worksheet, especially those that perform lengthy or complex calculations.) in Microsoft Excel.

Description
Objective: For Double-byte character set (DBCS) languages, changes full-width (double-byte) characters to half-width (single-byte) characters.

Syntax
ASC(text)The ASC function syntax has the following arguments (argument: A value that provides information to an action, an event, a method, a property, a function, or a procedure.):

Text  Required. The text or a reference to a cell that contains the text you want to change. If text does not contain any full-width letters, text is not changed.
Example

สูตร Excel การใช้งานฟังก์ชั่น ASC
 ช่วงนี้ผมเอาแต่เนื้อหาภาษาอังกฤษลง ไม่ต้องแปลกใจไปครับ เนื้อหาเกี่ยวกับ สูตร Excel ที่เอามาลงให้นี้ นำมาจาก help ของ Excel นั่นเองครับ...อยากให้ทุกคนได้ศึกาษาและผ่านตากับวิธีใช้ที่เป็นภาษาอังกฤษน่ะครับ จะได้มีความสามารถในการหาข้อมูล ด้าน Excel ที่เป็นภาษาอังกฤษได้ ... และอีกอย่าง ก็เพื่อเป็นประโยชน์สำหรับ ชาวต่างชาติที่เข้ามาฝึกฝน Excel ในเว็บนี้ด้วยครับ...
ส่วนตัวอย่างอื่นๆ ที่ผมทำไว้ จะทยอยลงให้น่ะครับ บางตัวอย่างค่อนข้างจะใหญ่ ผมยังไม่มีเวลาเอาลงให้ครับ อดใจรอสักหน่อยไม่นานเกินรอ..สุดท้ายนี้ขอบคุณทุกคนที่เข้ามาอ่านเว็บบล็อกแห่งนี้ครับ

วันอาทิตย์ที่ 14 กันยายน พ.ศ. 2557

สูตร Excel ฟังก์ชั่น ISODD

สูตร Excel ฟังก์ชั่น ISODD ISODD เป็น สูตร Excel ด้านข้อมูล ทำหน้าที่ คืนค่า TRUE ถ้าเป็นตัวเลขคี่ รูปแบบสูตร คือ ISODD(number) โดย... thumbnail 1 summary
สูตร Excel ฟังก์ชั่น ISODD

ISODD เป็น สูตร Excel ด้านข้อมูล

ทำหน้าที่ คืนค่า TRUE ถ้าเป็นตัวเลขคี่

รูปแบบสูตร คือ ISODD(number)

โดยที่ Number คือ ค่าที่เราใช้ทดสอบ ถ้า number ไม่ใช่จำนวนเต็ม ก็จะถูกตัดเศษทศนิยมทิ้ง

ฟังก์ชั่นที่มีความเกี่ยวข้องกับฟังก์ชั่น ISODD ก็ได้แก่
Even, ISEVEN, ODD

ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชั่น ISODD

1. คลิกที่เซลล์ A2 แล้วพิมพ์ 2 จากนั้นคลิกเซลล์ B2 แล้วพิมพ์ =isodd(a2) และกด Enter จะโชว์ FALSE

2. คลิกเซลล์ A3 แล้วพิมพ์ 1 จากนั้นคลิกเซลล์ B4 แล้วพิมพ์ =ISODD(a3) แล้วกด Enter จะแสดงค่า TRUE

3. คลิกเซลล์ A3 แล้วพิมพ์ 0 คลิกเซลล์ B4 แล้วพิมพ์ =isodd(a4) และกด Enter จะแสดงค่า FALSE

4. คลิกเซลล์ A5 แล้วพิมพ์ =-1 แล้วกด Enter จากนั้นคลิกเซลล์ B5 แล้วพิมพ์ =isodd(a5) แล้กด Enter จะแสดงค่า True

5. คลิกเซลล์ A6 แล้วพิมพ์ -2 แล้วกด Enter จากนั้นคลิกเซลล์ B6 แล้วพิมพ์ =isodd(a6) แล้วกด enterจะแสดงค่า False

6. คลิกเซลล์ A7 แล้วพิมพ์ aaa แล้วกด Enter จากนั้นคลิกเซลล์ B7 แล้วพิมพ์ =isood(a7) และกด Enter จะแสดงค่า #VALUE!

7. คลิกที่เซลล์ A8 แล้วพิมพ์ =”” แล้วกด Enter จากนั้นคลิกเซลล์ B8 แล้วพิมพ์ =isodd(a8) แล้วกด Enter จะแสดงค่า #VALUE!

AND function and ways to use

AND function and ways to use This article describes the formula syntax and usage of the AND function (function: A prewritten formula... thumbnail 1 summary


AND function and ways to use
This article describes the formula syntax and usage of the AND function (function: A prewritten formula that takes a value or values, performs an operation, and returns a value or values. Use functions to simplify and shorten formulas on a worksheet, especially those that perform lengthy or complex calculations.) in Microsoft Excel.

Description
Objective: Returns TRUE if all its arguments evaluate to TRUE; returns FALSE if one or more arguments evaluate to FALSE.

One common use for the AND function is to expand the usefulness of other functions that perform logical tests. For example, the IF function performs a logical test and then returns one value if the test evaluates to TRUE and another value if the test evaluates to FALSE. By using the AND function as the logical_test argument of the IF function, you can test many different conditions instead of just one.

Syntax
AND(logical1, [logical2], ...)The AND function syntax has the following arguments (argument: A value that provides information to an action, an event, a method, a property, a function, or a procedure.):

logical1  Required. The first condition that you want to test that can evaluate to either TRUE or FALSE.
logical2, ...  Optional. Additional conditions that you want to test that can evaluate to either TRUE or FALSE, up to a maximum of 255 conditions.
Remarks
The arguments must evaluate to logical values, such as TRUE or FALSE, or the arguments must be arrays (array: Used to build single formulas that produce multiple results or that operate on a group of arguments that are arranged in rows and columns. An array range shares a common formula; an array constant is a group of constants used as an argument.) or references that contain logical values.
If an array or reference argument contains text or empty cells, those values are ignored.
If the specified range contains no logical values, the AND function returns the #VALUE! error value.
Examples 1


Examples 2


วันพุธที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2557

AMORLINC function and ways to use

AMORLINC function and ways to use This article describes the formula syntax and usage of the AMORLINC function (function: A prewritt... thumbnail 1 summary


AMORLINC function and ways to use
This article describes the formula syntax and usage of the AMORLINC function (function: A prewritten formula that takes a value or values, performs an operation, and returns a value or values. Use functions to simplify and shorten formulas on a worksheet, especially those that perform lengthy or complex calculations.) in Microsoft Excel.

Description
Objective: Returns the depreciation for each accounting period. This function is provided for the French accounting system. If an asset is purchased in the middle of the accounting period, the prorated depreciation is taken into account.

Syntax
AMORLINC(cost, date_purchased, first_period, salvage, period, rate, [basis]) Important  Dates should be entered by using the DATE function, or as results of other formulas or functions. For example, use DATE(2008,5,23) for the 23rd day of May, 2008. Problems can occur if dates are entered as text.

The AMORLINC function syntax has the following arguments (argument: A value that provides information to an action, an event, a method, a property, a function, or a procedure.):

Cost  Required. The cost of the asset.
Date_purchased  Required. The date of the purchase of the asset.
First_period  Required. The date of the end of the first period.
Salvage  Required. The salvage value at the end of the life of the asset.
Period  Required. The period.
Rate  Required. The rate of depreciation.
Basis  Optional. The year basis to be used.Basis Date system
0 or omitted 360 days (NASD method)
1 Actual
3 365 days in a year
4 360 days in a year (European method)

Remarks
Microsoft Excel stores dates as sequential serial numbers so they can be used in calculations. By default, January 1, 1900 is serial number 1, and January 1, 2008 is serial number 39448 because it is 39,448 days after January 1, 1900. Microsoft Excel for the Macintosh uses a different date system as its default.

สูตร Excel Amorlinc
Example