ฟังก์ชั่น DGET เป็นฟังก์ชั่นประเภทฐานข้อมูล มีรูปแบบสูตรคือ DGET(database,field,criteria)
Database คือ ช่วงของเซลลืที่ประกอบขึ้นเป็นรายการหรือฐานข้อมูลโดยรายการของข้อมูลที่สัมพันธ์กันที่อยู่ในแถวของข้อมูลที่สัมพันธ์กันเรียกว่า ระเบียน และคอลัมน์ของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล ซึ่งแถวแรกของรายการประกอบด้วยป้ายชื่อของแต่ละคอลัมน์
Field ทำหน้าที่บ่งชี้คอลัมน์ที่ถูกใช้ในฟังก์ชั่น โดยอาจจะกำหนดเป็นข้อความโดยใช้ป้ายชื่อคอลัมน์ที่คร่อมด้วยเครื่องหมายอัญประกาศคู่ เช่น “อายุ” หรือ “ผลกำไร” หรือกำหนดเป็นตัวเลขที่แสดงถึงตำแหน่งของคอลัมน์ภายในรายการเช่น 1 หมายถึงคอลัมน์แรกส่วน 2 หมายถึงคอลัมน์ที่สอง และต่อๆไป
Criteria คือ ช่วงของเซลล์ที่มีเงื่อนไขตามที่คุณระบุ โดยสามารถใช้ช่วงใดก็ได้เป็นอาร์กิวเมนต์ของเกณฑ์ ตราบใดที่ช่วงนั้นมีป้ายชื่อคอลัมน์อย่างน้อยหนึ่งคอลัมน์ และมีเซลล์อย่างน้อยหนึ่งเซลล์อยู่ใต้ป้ายชื่อคอลัมน์ที่ใช้ในการระบุเงื่อนไขให้กับคอลัมน์
ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชั่น DGET บน Microsoft Excel
• ระบายเซลล์ A1:C7 จากนั้นพิมพ์ข้อมูลเข้าไปและกด Enter ไปจนครบดังนี้
• พิมพ์ Name แล้วกด enter พิมพ์ Somboon แล้วกด Enter พิมพ์ Amorn แล้วกด Enter
• พิมพ์ Boripat แล้วกด Enter พิมพ์ Pipat แล้วกด Enter พิมพ์ Pirat กด Enter พิมพ์ Chonticha แล้วกด Enter
• พิมพ์ Province แล้วกด Enter พิมพ์ Bangkok แล้วกด Enter พิมพ์ Bangkok แล้วกด Enter
• พิมพ์ Bangkok แล้วกด Enter พิมพ์ Rayong กด Enter พิมพ์ Chonburi แล้วกด Enter พิมพ์ Rayong แล้วกด Enter
• พิมพ์ Amount แล้วกด enter พิมพ์ 12000 แล้วกด Enter พิมพ์ 25000 แล้วกด Enter
• พิมพ์ 14000 แล้วกด enter พิมพ์ 3000 กด Enter พิมพ์ 15000 แล้วกด Enter พิมพ์ 30000 แล้วกด Enter
• ก๊อบปี้ข้อมูลในเซลล์ A1:C1 มาไว้ที่เซลล์ A9
• ที่เซลล์ A10 พิมพ์ Amorn
• ที่เซลล์ C12 ให้พิมพ์สูตรดังนี้ =dget(A1:C7,C1,A9:C10)
• ทดลองเปลี่ยนชื่อเป็นคนอื่นที่เซลล์ A10 และกด Enter จะเห็นว่าผลในเซลล์ C12 จะเปลี่ยนไป
Database คือ ช่วงของเซลลืที่ประกอบขึ้นเป็นรายการหรือฐานข้อมูลโดยรายการของข้อมูลที่สัมพันธ์กันที่อยู่ในแถวของข้อมูลที่สัมพันธ์กันเรียกว่า ระเบียน และคอลัมน์ของข้อมูลเรียกว่า เขตข้อมูล ซึ่งแถวแรกของรายการประกอบด้วยป้ายชื่อของแต่ละคอลัมน์
Field ทำหน้าที่บ่งชี้คอลัมน์ที่ถูกใช้ในฟังก์ชั่น โดยอาจจะกำหนดเป็นข้อความโดยใช้ป้ายชื่อคอลัมน์ที่คร่อมด้วยเครื่องหมายอัญประกาศคู่ เช่น “อายุ” หรือ “ผลกำไร” หรือกำหนดเป็นตัวเลขที่แสดงถึงตำแหน่งของคอลัมน์ภายในรายการเช่น 1 หมายถึงคอลัมน์แรกส่วน 2 หมายถึงคอลัมน์ที่สอง และต่อๆไป
Criteria คือ ช่วงของเซลล์ที่มีเงื่อนไขตามที่คุณระบุ โดยสามารถใช้ช่วงใดก็ได้เป็นอาร์กิวเมนต์ของเกณฑ์ ตราบใดที่ช่วงนั้นมีป้ายชื่อคอลัมน์อย่างน้อยหนึ่งคอลัมน์ และมีเซลล์อย่างน้อยหนึ่งเซลล์อยู่ใต้ป้ายชื่อคอลัมน์ที่ใช้ในการระบุเงื่อนไขให้กับคอลัมน์
ตัวอย่างการใช้งานฟังก์ชั่น DGET บน Microsoft Excel
• ระบายเซลล์ A1:C7 จากนั้นพิมพ์ข้อมูลเข้าไปและกด Enter ไปจนครบดังนี้
• พิมพ์ Name แล้วกด enter พิมพ์ Somboon แล้วกด Enter พิมพ์ Amorn แล้วกด Enter
• พิมพ์ Boripat แล้วกด Enter พิมพ์ Pipat แล้วกด Enter พิมพ์ Pirat กด Enter พิมพ์ Chonticha แล้วกด Enter
• พิมพ์ Province แล้วกด Enter พิมพ์ Bangkok แล้วกด Enter พิมพ์ Bangkok แล้วกด Enter
• พิมพ์ Bangkok แล้วกด Enter พิมพ์ Rayong กด Enter พิมพ์ Chonburi แล้วกด Enter พิมพ์ Rayong แล้วกด Enter
• พิมพ์ Amount แล้วกด enter พิมพ์ 12000 แล้วกด Enter พิมพ์ 25000 แล้วกด Enter
• พิมพ์ 14000 แล้วกด enter พิมพ์ 3000 กด Enter พิมพ์ 15000 แล้วกด Enter พิมพ์ 30000 แล้วกด Enter
• ก๊อบปี้ข้อมูลในเซลล์ A1:C1 มาไว้ที่เซลล์ A9
• ที่เซลล์ A10 พิมพ์ Amorn
• ที่เซลล์ C12 ให้พิมพ์สูตรดังนี้ =dget(A1:C7,C1,A9:C10)
• ทดลองเปลี่ยนชื่อเป็นคนอื่นที่เซลล์ A10 และกด Enter จะเห็นว่าผลในเซลล์ C12 จะเปลี่ยนไป