สูตร Excel การใช้ฟังก์ชั่น Column
Column จัดเป็นฟังก์ชั่นหรือสูตรประเภทการค้นหาและการอ้างอิง
สูตร หรือ ฟังก์ชั่น Column ทำหน้าที่ คืนค่าหมายเลขคอลัมน์ของการอ้างอิง
รูปแบบสูตร คือ COLUMN(reference)
โดยที่ Reference คือ เซลล์ๆเดียว หรือ เซลล์หลายเซลล์ก็ได้ แต่ต้องอ้างถึงเซลล์ที่อยู่ติดๆกัน เพื่อนำมาหาหมายเลขคอลัมน์
ถ้า Reference คือ ช่วงของเซลล์ และถ้าอาร์เรย์ที่ใส่ไว้ในฟังก์ชั่น COLUMN เป็นแบบแนวนอน ฟังก์ชั่นหรือสูตร COLUMN จะคืนค่าหมายเลขคอลัมน์ของการอ้างอิงเป็นอาร์เรย์แบบแนวแนวมาให้
การอ้างอิงไม่สามารถอ้างถึงหลายๆพื้นที่ได้
สูตรหรือฟังก์ชั่นที่เกี่ยวข้องหรือทำงานคล้ายกันคือ COLUMNS, ROW
ตัวอย่างการทำงาน ของ สูตรหรือฟังก์ชั่น Column เช่น
1. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(b1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 2 นั่นคือ b อยู่ คอลัมน์ที่ 2
2. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(c1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 3 นั่นคือ c อยู่ คอลัมน์ที่ 3
3. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(d1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 4 นั่นคือ d อยู่ คอลัมน์ที่ 4
4. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(e1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 5 นั่นคือ e อยู่ คอลัมน์ที่ 5
5. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(f1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 6 นั่นคือ f อยู่ คอลัมน์ที่ 6
6. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(g1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 7 นั่นคือ g อยู่ คอลัมน์ที่ 7
7. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(h1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 8 นั่นคือ h อยู่ คอลัมน์ที่ 8
8. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(i1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 9 นั่นคือ i อยู่ คอลัมน์ที่ 9
9. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(j1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 10 นั่นคือ j อยู่ คอลัมน์ที่ 10
10. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(k1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 11 นั่นคือ k อยู่ คอลัมน์ที่ 11
11. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(l1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 12 นั่นคือ l อยู่ คอลัมน์ที่ 12
12. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(m1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 13 นั่นคือ m อยู่ คอลัมน์ที่ 13
13. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(n1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 14 นั่นคือ n อยู่ คอลัมน์ที่ 14
14. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(o1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 15 นั่นคือ o อยู่ คอลัมน์ที่ 15
15. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(p1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 16 นั่นคือ p อยู่ คอลัมน์ที่ 16
จากตัวอย่างในแต่ละข้อเราจะเห็นว่า สูตรหรือฟังก์ชั่น Column นั้น คืนค่าลำดับของคอลัมน์มาให้ เช่น คอลัมน์ a ก็เท่ากับ 1,b ก็เท่ากับ 2 คอลัมน์ต่อๆไปก็บวกเพิ่มทีละ 1 อย่างนี้ไปเรื่อยๆ
มือใหม่ที่ยังไม่เข้าใจเรื่องของคอลัมน์อาจงงว่า ถ้าเราพิมพ์สูตรว่า =column(b2) มันจะเท่ากับเท่าไร คำตอบก็คือเท่ากับ 2 อยู่ดี เพราะ b2 คือเซลล์ ที่อยู่ในคอลัมน์ b ต้องแยกให้ออกระหว่างเซลล์กับคำว่าคอลัมน์น่ะครับ ช่องแต่ละช่องเรียกว่าเซลล์ครับ ไม่ว่า b2,b3,b4,b5 จนถึง b ตัวสุดท้าย มันก็คือคอลัมน์ b ซึ่งอยู่ลำดับที่ 2 (ต่อจาก a) เข้าใจตรงกันน่ะครับ....
Column จัดเป็นฟังก์ชั่นหรือสูตรประเภทการค้นหาและการอ้างอิง
สูตร หรือ ฟังก์ชั่น Column ทำหน้าที่ คืนค่าหมายเลขคอลัมน์ของการอ้างอิง
รูปแบบสูตร คือ COLUMN(reference)
โดยที่ Reference คือ เซลล์ๆเดียว หรือ เซลล์หลายเซลล์ก็ได้ แต่ต้องอ้างถึงเซลล์ที่อยู่ติดๆกัน เพื่อนำมาหาหมายเลขคอลัมน์
ถ้า Reference คือ ช่วงของเซลล์ และถ้าอาร์เรย์ที่ใส่ไว้ในฟังก์ชั่น COLUMN เป็นแบบแนวนอน ฟังก์ชั่นหรือสูตร COLUMN จะคืนค่าหมายเลขคอลัมน์ของการอ้างอิงเป็นอาร์เรย์แบบแนวแนวมาให้
การอ้างอิงไม่สามารถอ้างถึงหลายๆพื้นที่ได้
สูตรหรือฟังก์ชั่นที่เกี่ยวข้องหรือทำงานคล้ายกันคือ COLUMNS, ROW
ตัวอย่างการทำงาน ของ สูตรหรือฟังก์ชั่น Column เช่น
1. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(b1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 2 นั่นคือ b อยู่ คอลัมน์ที่ 2
2. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(c1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 3 นั่นคือ c อยู่ คอลัมน์ที่ 3
3. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(d1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 4 นั่นคือ d อยู่ คอลัมน์ที่ 4
4. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(e1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 5 นั่นคือ e อยู่ คอลัมน์ที่ 5
5. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(f1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 6 นั่นคือ f อยู่ คอลัมน์ที่ 6
6. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(g1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 7 นั่นคือ g อยู่ คอลัมน์ที่ 7
7. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(h1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 8 นั่นคือ h อยู่ คอลัมน์ที่ 8
8. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(i1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 9 นั่นคือ i อยู่ คอลัมน์ที่ 9
9. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(j1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 10 นั่นคือ j อยู่ คอลัมน์ที่ 10
10. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(k1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 11 นั่นคือ k อยู่ คอลัมน์ที่ 11
11. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(l1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 12 นั่นคือ l อยู่ คอลัมน์ที่ 12
12. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(m1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 13 นั่นคือ m อยู่ คอลัมน์ที่ 13
13. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(n1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 14 นั่นคือ n อยู่ คอลัมน์ที่ 14
14. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(o1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 15 นั่นคือ o อยู่ คอลัมน์ที่ 15
15. ถ้าเราพิมพ์ที่ เซลล์ A1 ว่า =COLUMN(p1) แล้วกด Enter ที่เซลล์ A1 จะแสดงค่า 16 นั่นคือ p อยู่ คอลัมน์ที่ 16
จากตัวอย่างในแต่ละข้อเราจะเห็นว่า สูตรหรือฟังก์ชั่น Column นั้น คืนค่าลำดับของคอลัมน์มาให้ เช่น คอลัมน์ a ก็เท่ากับ 1,b ก็เท่ากับ 2 คอลัมน์ต่อๆไปก็บวกเพิ่มทีละ 1 อย่างนี้ไปเรื่อยๆ
มือใหม่ที่ยังไม่เข้าใจเรื่องของคอลัมน์อาจงงว่า ถ้าเราพิมพ์สูตรว่า =column(b2) มันจะเท่ากับเท่าไร คำตอบก็คือเท่ากับ 2 อยู่ดี เพราะ b2 คือเซลล์ ที่อยู่ในคอลัมน์ b ต้องแยกให้ออกระหว่างเซลล์กับคำว่าคอลัมน์น่ะครับ ช่องแต่ละช่องเรียกว่าเซลล์ครับ ไม่ว่า b2,b3,b4,b5 จนถึง b ตัวสุดท้าย มันก็คือคอลัมน์ b ซึ่งอยู่ลำดับที่ 2 (ต่อจาก a) เข้าใจตรงกันน่ะครับ....