ฟังก์ชัน VLOOKUP และ วิธีการใช้งาน
ฟังก์ชัน VLOOKUP จัดเป็น ฟังก์ชัน ประเภทการค้นหาและการอ้างอิง ของ Excel
ฟังก์ชัน VLOOKUP ทำหน้าที่ ค้นหาค่าในคอลัมน์ซ้ายสุดของตาราง แล้วส่งกลับค่าในแถวเดียวกันจากคอลัมน์ที่เราระบุไว้ในตาราง
ให้เราใช้ VLOOKUP แทนที่จะเป็น HLOOKUP เมื่อมีการระบุตำแหน่งของค่าการเปรียบเทียบในคอลัมน์ไปที่ด้านซ้ายของข้อมูลที่เราต้องการค้นหา
รูปแบบ สูตร Excel ของ ฟังก์ชัน VLOOKUP คือ VLOOKUP(lookup_value, table_array,col_index_num,range_lookup)
พารามิเตอร์แต่ละตัว มีความหมายดังนี้
lookup_value คือ ค่าที่จะหาในคอลัมน์แรกของอาร์เรย์ ซึ่งอาจจะเป็นการอ้างอิง หรือสายอักขระข้อความก็ได้
table_array คือ ตารางของข้อมูลในที่ซึ่งข้อมูลถูกค้นหา ให้ใช้การอ้างอิงไปยังช่วงหรือชื่อของช่วง เช่น ฐานข้อมูลหรือรายการ
ถ้า range_lookup เป็น True ค่าในคอลัมน์แรกของ table_array จะต้องเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก เช่น ...., -2, -1, 0, 1, 2, …., A-Z, FALSE, TRUE มิฉะนั้น VLOOKUP อาจจะไม่ให้ค่าที่ถูกต้อง ถ้า Range_lookup เป็น FALSE โดยไม่ต้องจำเป็นต้องจัดเรียง table_array
คุณสามารถใส่ค่าโดยเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ได้โดยการเลือกคำสั่ง Sort จากเมนู Data และเลือก Ascending
ค่าในคอลัมน์แรกของ table_array อาจเป็นข้อความ จำนวน หรือ ค่าตรรกะ ก็ได้
ข้อความแบบตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็กจะมีค่าเท่ากัน
col_index_num คือ หมายเลขคอลัมน์ใน table_array ซึ่งค่าภายในที่คุณต้องการจะถูกส่งกลับมา col_index_num ของ 1 จะส่งกลับค่าในคอลัมน์แรกใน table_array ส่วน col_index_num ของ 2 จะส่งกลับค่าคอลัมน์ที่ส่องใน table_array และอื่นๆ ถ้า col_index_num น้อยกว่า 1 ฟังก์ชัน VLOOKUP จะส่งกลับ #VALUE! เป็นค่าความผิดพลาด ถ้า col_index_num มากกว่าจำนวนของคอลัมน์ใน table_array, VLOOKUP จะส่งกลับค่า #REF! เป็นค่าความผิดพลาด
Range_lookup คือค่าตรรกะ ที่ระบุว่าเราต้องการให้ VLOOKUP ค้นหาการจักคู่ที่ตรงกันหรือการจับคู่ที่เหมาะสมหรือไม่ ถ้าเป็น TRUE หรือไม่ใส่ค่าอะไรไว้ จะส่งการจับคู่ที่เหมาะสมกลับมา ในอีกทางหนึ่ง ถ้าไม่พบการจับคู่ที่ตรงกัน ค่าที่ใกล้เคียงที่สุดที่น้อยกว่าค่า lookup_value จะถูกส่งกลับมา ถ้าเป็น FALSE ฟังก์ชัน VLOOKUP จะค้นหาการจับคู่ที่ตรงกัน ถ้าไม่มีการค้นพบค่าใดค่าหนึ่ง ก็จะส่งกลับ #N/A เป็นค่าความผิดพลาด
ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับฟังก์ชัน VLOOKUP เช่น HLOOKUP, INDEX, LOOKUP, MATCH
ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน VLOOKUP
1. เลือกเซลล์ B2:B7 แล้วพิมพ์ Code จากนั้นกด Enter
2. พิมพ์ 10 แล้วกด Enter
3. พิมพ์ 20 แล้กด Enter
4. พิมพ์ 30 แล้วกด Enter
5. พิมพ์ 40 แล้วกด Enter
6. พิมพ์ 50 แล้วกด Enter
7. เลือกเซลล์ C2:C7 แล้วพิมพ์ Name จากนั้นกด Enter
8. พิมพ์ aa แล้วกด Enter พิมพ์ bb แล้วกด Enter พิมพ์ CC แล้วกด Enter พิมพ์ DD แล้วกด Enter พิมพ์ EE แล้วกด Enter
9. เลือกเซลล์ D2:D7 แล้วพิมพ์ Salary จากนั้นกด Enter
10. พิมพ์ 6000 แล้วกด Enter
11. พิมพ์ 8000 แล้วกด Enter
12. พิมพ์ 7500 แล้วกด Enter
13. พิมพ์ 12000 แล้วกด Enter
14. พิมพ์ 9500 แล้วกด Enter
15. เลือกเซลล์ B9:D9 แล้วพิมพ์ Code จากนั้นกด Enter
16. พิมพ์ Name แล้วกด Enter
17. พิมพ์ Salary แล้วกด Enter
18. คลิกเซลล์ B10 แล้ว พิมพ์ 30 แล้วกด Enter
19. คลิกเซลล์ C10 แล้วพิมพ์ =VLOOKUP(b10,b3:d7,2) แล้วกด Enter จะแสดงค่า CC
20. คลิกเซลล์ D10 พิมพ์ =VLOOKUP(b10,b3:d7,3) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 7500
ฟังก์ชัน VLOOKUP จัดเป็น ฟังก์ชัน ประเภทการค้นหาและการอ้างอิง ของ Excel
ฟังก์ชัน VLOOKUP ทำหน้าที่ ค้นหาค่าในคอลัมน์ซ้ายสุดของตาราง แล้วส่งกลับค่าในแถวเดียวกันจากคอลัมน์ที่เราระบุไว้ในตาราง
ให้เราใช้ VLOOKUP แทนที่จะเป็น HLOOKUP เมื่อมีการระบุตำแหน่งของค่าการเปรียบเทียบในคอลัมน์ไปที่ด้านซ้ายของข้อมูลที่เราต้องการค้นหา
รูปแบบ สูตร Excel ของ ฟังก์ชัน VLOOKUP คือ VLOOKUP(lookup_value, table_array,col_index_num,range_lookup)
พารามิเตอร์แต่ละตัว มีความหมายดังนี้
lookup_value คือ ค่าที่จะหาในคอลัมน์แรกของอาร์เรย์ ซึ่งอาจจะเป็นการอ้างอิง หรือสายอักขระข้อความก็ได้
table_array คือ ตารางของข้อมูลในที่ซึ่งข้อมูลถูกค้นหา ให้ใช้การอ้างอิงไปยังช่วงหรือชื่อของช่วง เช่น ฐานข้อมูลหรือรายการ
ถ้า range_lookup เป็น True ค่าในคอลัมน์แรกของ table_array จะต้องเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก เช่น ...., -2, -1, 0, 1, 2, …., A-Z, FALSE, TRUE มิฉะนั้น VLOOKUP อาจจะไม่ให้ค่าที่ถูกต้อง ถ้า Range_lookup เป็น FALSE โดยไม่ต้องจำเป็นต้องจัดเรียง table_array
คุณสามารถใส่ค่าโดยเรียงลำดับจากน้อยไปหามาก ได้โดยการเลือกคำสั่ง Sort จากเมนู Data และเลือก Ascending
ค่าในคอลัมน์แรกของ table_array อาจเป็นข้อความ จำนวน หรือ ค่าตรรกะ ก็ได้
ข้อความแบบตัวพิมพ์ใหญ่และตัวพิมพ์เล็กจะมีค่าเท่ากัน
col_index_num คือ หมายเลขคอลัมน์ใน table_array ซึ่งค่าภายในที่คุณต้องการจะถูกส่งกลับมา col_index_num ของ 1 จะส่งกลับค่าในคอลัมน์แรกใน table_array ส่วน col_index_num ของ 2 จะส่งกลับค่าคอลัมน์ที่ส่องใน table_array และอื่นๆ ถ้า col_index_num น้อยกว่า 1 ฟังก์ชัน VLOOKUP จะส่งกลับ #VALUE! เป็นค่าความผิดพลาด ถ้า col_index_num มากกว่าจำนวนของคอลัมน์ใน table_array, VLOOKUP จะส่งกลับค่า #REF! เป็นค่าความผิดพลาด
Range_lookup คือค่าตรรกะ ที่ระบุว่าเราต้องการให้ VLOOKUP ค้นหาการจักคู่ที่ตรงกันหรือการจับคู่ที่เหมาะสมหรือไม่ ถ้าเป็น TRUE หรือไม่ใส่ค่าอะไรไว้ จะส่งการจับคู่ที่เหมาะสมกลับมา ในอีกทางหนึ่ง ถ้าไม่พบการจับคู่ที่ตรงกัน ค่าที่ใกล้เคียงที่สุดที่น้อยกว่าค่า lookup_value จะถูกส่งกลับมา ถ้าเป็น FALSE ฟังก์ชัน VLOOKUP จะค้นหาการจับคู่ที่ตรงกัน ถ้าไม่มีการค้นพบค่าใดค่าหนึ่ง ก็จะส่งกลับ #N/A เป็นค่าความผิดพลาด
ฟังก์ชันที่เกี่ยวข้องกับฟังก์ชัน VLOOKUP เช่น HLOOKUP, INDEX, LOOKUP, MATCH
ตัวอย่างการใช้งาน ฟังก์ชัน VLOOKUP
1. เลือกเซลล์ B2:B7 แล้วพิมพ์ Code จากนั้นกด Enter
2. พิมพ์ 10 แล้วกด Enter
3. พิมพ์ 20 แล้กด Enter
4. พิมพ์ 30 แล้วกด Enter
5. พิมพ์ 40 แล้วกด Enter
6. พิมพ์ 50 แล้วกด Enter
7. เลือกเซลล์ C2:C7 แล้วพิมพ์ Name จากนั้นกด Enter
8. พิมพ์ aa แล้วกด Enter พิมพ์ bb แล้วกด Enter พิมพ์ CC แล้วกด Enter พิมพ์ DD แล้วกด Enter พิมพ์ EE แล้วกด Enter
9. เลือกเซลล์ D2:D7 แล้วพิมพ์ Salary จากนั้นกด Enter
10. พิมพ์ 6000 แล้วกด Enter
11. พิมพ์ 8000 แล้วกด Enter
12. พิมพ์ 7500 แล้วกด Enter
13. พิมพ์ 12000 แล้วกด Enter
14. พิมพ์ 9500 แล้วกด Enter
15. เลือกเซลล์ B9:D9 แล้วพิมพ์ Code จากนั้นกด Enter
16. พิมพ์ Name แล้วกด Enter
17. พิมพ์ Salary แล้วกด Enter
18. คลิกเซลล์ B10 แล้ว พิมพ์ 30 แล้วกด Enter
19. คลิกเซลล์ C10 แล้วพิมพ์ =VLOOKUP(b10,b3:d7,2) แล้วกด Enter จะแสดงค่า CC
20. คลิกเซลล์ D10 พิมพ์ =VLOOKUP(b10,b3:d7,3) แล้วกด Enter จะแสดงค่า 7500